เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Dimercury dichloride
| |
ชื่ออื่น | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.030.266 |
EC Number |
|
25976 | |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
UN number | 3077 |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
Hg2Cl2 | |
มวลโมเลกุล | 472.09 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งสีขาว |
ความหนาแน่น | 7.150 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 383 องศาเซลเซียส (721 องศาฟาเรนไฮต์; 656 เคลวิน) (sublimes) |
0.2 mg/100 mL | |
Solubility product, Ksp | 1.43×10−18[1] |
ความสามารถละลายได้ | ไม่ละลายในเอทานอล, อีเทอร์ |
−26.0·10−6 cm3/mol | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.973 |
โครงสร้าง | |
เหลี่ยม | |
อุณหเคมี | |
Std molar
entropy (S⦵298) |
196 J·mol−1·K−1[2] |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−265 kJ·mol−1[2] |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
เตือน | |
H302, H315, H319, H335, H410 | |
P261, P264, P270, P271, P273, P280, P301+P312, P302+P352, P304+P340, P305+P351+P338, P312, P321, P330, P332+P313, P337+P313, P362, P391, P403+P233, P405, P501 | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
210 mg/kg (rat, oral)[3] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0984 |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนอื่น ๆ
|
เมอร์คิวรี(I) ฟลูออไรด์ Mercury(I) bromide Mercury(I) iodide |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
เมอร์คิวรี(II) คลอไรด์ |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์ (Mercury(I) chloride) เป็นสารประกอบเคมีมีสูตรเป็น Hg2Cl2 ชื่อสามัญเรียก calomel[4] (พบได้น้อยในธรรมชาติ) หรือ mercurous chloride ซึ่งควบแน่นเป็นของแข็งสีขาวหรือขาวอมเหลือง เป็นสารประกอบของ mercury(I) ใช้เป็นส่วนประกอบของอิเล็กโทรดอ้างอิงในเคมีไฟฟ้า[5][6]
ในตำรายาไทย เรียกคาโลเมลว่า โกฐกะเพ่อ นำมาลดพิษโดยกวนกับน้ำดอกไม้เทศและน้ำคั้นจากต้นมะแว้งนก แล้วใส่ถ้วย เผาด้วยไฟจากมูลโค ใช้เป็นยาแก้ไข้ ไอเป็นเลือด ริดสีดวง ในเปอร์เซียใช้รักษาซิฟิลิส[7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ John Rumble (June 18, 2018). CRC Handbook of Chemistry and Physics (ภาษาอังกฤษ) (99 ed.). CRC Press. pp. 5–188. ISBN 978-1138561632.
- ↑ 2.0 2.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A22. ISBN 978-0-618-94690-7.
- ↑ "Mercury compounds [except (organo) alkyls] (as Hg)". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
- ↑ Housecroft, C. E.; Sharpe, A. G. (2004). Inorganic Chemistry (2nd ed.). Prentice Hall. pp. 696–697. ISBN 978-0-13-039913-7.
- ↑ Skoog, Douglas A.; Holler, F. James; Nieman, Timothy A. (1998). Principles of Instrumental Analysis (5th ed.). Saunders College Pub. pp. 253–271. ISBN 978-0-03-002078-0.
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 5 คณาเภสัช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2548.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์